วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

การ Config php.ini

สำหรับการ setup php ตั้งแต่เวอร์ชั่น 5.3 เป็นต้นไป จะมีไฟล์ php.ini-development เอาไว้เป็น sample ให้ copy เป็น php.ini ถ้าต้องการใช้ทดสอบโปรแกรมเฉยๆ และไฟล์ php.ini-production เอาไว้ใช้ใน server ที่ให้บริการกับลูกค้าจริง
โดย config ที่ผมจะแนะนำให้รู้จักมีดังนี้
  • display_errors - On/Off - หากเกิด error ขึ้นให้แสดงภายในหน้าเว็บหรือไม่ ถ้าเป็นเครื่อง development ควร On ไว้เพื่อ debug ถ้าเป็นเครื่อง production ควร Off เพื่อไม่ให้ผู้ใช้เห็น
  • error_reporting - E_ALL/0 - ใช้ปรับระดับ level การแสดง error ว่าจะให้แสดงมากน้อยเพียงใด หากต้องการปิด error ไม่ให้แสดงเลย ให้ใส่เป็น 0 (ศูนย์) ได้
  • short_open_tag - On/Off - ถ้าเปิด On ไว้จะสามารถใช้ <? ?> แทน <?php ?> และ <?=’Hello World’?> แทน <?php echo ‘Hello World’; ?> ได้ (feature นี้เพื่อความสะดวกของตัวโปรแกรมเมอร์นั่นเอง)
  • max_execution_time - int - กำหนดเป็นตัวเลขที่ต้องการให้ script สามารถรันได้นานที่สุด ทั่วไปกำหนดที่ 30 วินาทีซึ่งค่อนข้างเพียงพอต่อการใช้งานทั่วไป หากต้องมีการทำงานที่ใช้การประมวลผลเป็นเวลานานสามารถปรับเพิ่มขึ้นได้ แต่ไม่แนะนำให้ใส่เยอะเกินไป เพราะอาจทำให้ loop infinite ก่อนความเสียหายเป็นระยะเวลานาน โดยที่เราไม่รู้ตัวได้
  • max_input_time - int - ใช้กำหนดเวลามากที่สุดที่อนุญาตให้ php ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ส่งเข้ามาได้เช่นการ submit form post
  • memory_limit - int - กำหนดขนาดของ memory ที่อนุญาตให้ script แต่ละตัวใช้ได้ ถ้ากำหนดสูงไปอาจเกิดปัญหา memory leak ได้
  • post_max_size - int - ขนาดข้อมูลใหญ่ที่สุดที่อนุญาตให้ผู้ใช้ส่งเข้ามาได้ ขนาดตรงนี้รวมทั้ง file ที่ upload และข้อมูลที่ submit ผ่าน form เข้ามา
  • auto_prepend_file - string - path ไฟล์ php ที่ต้องการทำงานก่อนการทำงาน php ทุกๆ ไฟล์ที่รันตามปกติ ตรงนี้มีประโยชน์มากต่อการกำหนดตัวแปร Global ที่ต้องการให้ใช้งานได้ทุกๆ ไฟล์ ซึ่งเราจะเขียนอย่างไรก็ได้ตามใจเราเลย
  • auto_append_file - string - เหมือน  auto_prepend_file  ต่างกันแค่เป็นการทำงานหลังไฟล์ php ทุกๆ ไฟล์
  • file_uploads - On/Off - อนุญาตให้ upload file ขึ้น server ได้หรือไม่
  • upload_max_filesize - int - ขนาดไฟล์สูงสุดที่ให้ upload ได้ (ต้อง <=  post_max_size )
  • max_file_uploads - int - จำนวนไฟล์ที่ upload ได้พร้อมกันทั้งหมด
  • extension - string - กำหนด extension ของ php ที่ต้องการใช้งาน
  • session.gc_maxlifetime - int - อายุของ session ของผู้ใช้แต่ละคนที่จะเก็บไว้สูงสุด หากมีการเรียกใช้ session

Update Join Sql

update `hipdata` h right join pttype_bb pb on h.cid=pb.`3420900078775` set moi_status="OFC",pttype='26' ;

การติดตั้ง Upgrade Mysql

การติดตั้ง Upgrade Mysql 

ผมขอยกตัวอย่าง MariaDB-5.5.32 สำหรับ Centos 6 ขึ้นไปครับ ส่วนถ้าใครอยากติดตั้ง Centos 5 ขึ้นไปต้องดูว่า Os กี่บิต และใช้สำหรับอะไร เช่น

MariaDB-5.5.32-centos6-x86_64-client.rpm คือ
MariaDB-5.5.32 คือ Version MariaDB
centos6 คือ ใช้สำหรับ Centos 6 ขึ้นไป
x86_64 คือ ใช้กับ OS 64bit เท่านั้น


พอเริ่มเข้าใจโครงสร้างแล้วเราก็มาเริ่มกันเลยครับ

[root@hosxp ~]mysql -v      #ดูเวอร์ชั่น mysql
[root@hosxp ~]uname -a      #ดูเวอร์ชั่น OS
[root@hosxp ~]#vi /etc/sysconfig/iptables
#     disabled - No SELinux policy is loaded.
SELINUX=disabled
setenforce 0

[root@hosxp ~]#vi /etc/sysconfig/iptables
# Firewall configuration written by system-config-firewall
# Manual customization of this file is not recommended.
*filter
:INPUT ACCEPT [0:0]
:FORWARD ACCEPT [0:0]
:OUTPUT ACCEPT [0:0]
-A INPUT -m state --state ESTABLISHED,RELATED -j ACCEPT
-A INPUT -p icmp -j ACCEPT
-A INPUT -i lo -j ACCEPT
-A INPUT -m state --state NEW -m tcp -p tcp --dport 22 -j ACCEPT
-A INPUT -m state --state NEW -m tcp -p tcp --dport 80 -j ACCEPT ## เพิ้มค่านี้เข้าไป
-A INPUT -m state --state NEW -m tcp -p tcp --dport 3306 -j ACCEPT ## เพิ้มค่านี้เข้าไป
-A INPUT -j REJECT --reject-with icmp-host-prohibited
-A FORWARD -j REJECT --reject-with icmp-host-prohibited
COMMIT

[root@hosxp ~]#vi /etc/security/limits.conf
# เพิ่มข้อมูลนี้เข้าไป
root     soft     nofile     50000
root     hard     nofile     50000
mysql     soft     nofile     50000
mysql     hard     nofile     50000


## ลบ MySQL ในเครื่องออก
[root@hosxp ~]#rpm -qa|grep mysql                #  คนตัวติดตั้งที่ขึ้นต้นด้วย mysql
[root@hosxp ~]#rpm -e --nodeps mysqlxxxxx        # ลบ Mysql
[root@hosxp ~]cp my_MariaDB_xxx.cnf /etc/my.cnf

## Install MySQL MariaDB
[root@hosxp ~]#rpm -ihv MariaDB-5.5.32-centos6-x86_64-client.rpm --nodeps --force
[root@hosxp ~]#rpm -ihv MariaDB-5.5.32-centos6-x86_64-shared.rpm --nodeps --force
[root@hosxp ~]#rpm -ihv MariaDB-5.5.32-centos6-x86_64-server.rpm --nodeps --force

[root@hosxp ~] service mysql start

** หาก Start MySQL ไม่ได้ บอก pid error ให้ทำตามนี้
[root@hosxp ~]rm -rf /var/lib/mysql/*
[root@hosxp ~]ls -al /var/lib/mysql/
[root@hosxp ~]chown -Rv mysql:mysql /var/lib/mysql/*
[root@hosxp ~]sudo -u mysql mysql_install_db
[root@hosxp ~]service mysql start

[root@hosxp ~]/usr/bin/mysqladmin -u sa password 'sa'

##MySQL Create database
[root@hosxp ~]mysql -u root -p  << Enter

MariaDB [(none)]>create database hosxp_pcu default character set tis620;
MariaDB [(none)]>grant all privileges on *.* to sa@'sa' identified by 'sa' with grant option;
MariaDB [(none)]>grant all on *.* to sa@'%' identified by 'sa' with grant option;
MariaDB [(none)]>flush privileges;
MariaDB [(none)]>Ctrl-C -- exit!
Aborted
[root@hosxp ~]

## จบครับ

วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ปรับ my.cnf

[client]
#password    = [your_password]
port        = 3306
socket        = /var/lib/mysql/mysql.sock
default-character-set = tis620

[mysqld]
default-character-set=tis620  ###ทำให้ใช้งานภาษาไทยได้ ต้องเซ็ทตรงนี้ให้เสร็จก่อนที่จะ import ข้อมูลภาษาไทยเข้าไป
skip-charecter-set-client-handshark = ใช้เซ็ตภาษาให้กับโปรแกรมอื่น ช่น access
key_buffer=128M    ###ควรเซ็ทเป็น 40% ของ ram ที่มี
table_cache=256 ###ให้เท่ากับตารางทั้งหมดที่มีใน DB
sort_buffer_size=1M ###เป็นหน่วยความจำที่จองไว้ต่อจำนวน connection
read_buffer_size=1M  ###เป็นหน่วยความจำที่จองไว้ต่อจำนวน connection
read_rnd_buffer_size=1M  ###เป็นหน่วยความจำที่จองไว้ต่อจำนวน connection
myisam_sort_buffer_size=32M  ###ในการที่เรา create index จะใช้หน่วยความจำส่วนนี้ ควรเซ็ทไว้ 10-20%
max_allowed_packet=32M ###เป็นตัวกำหนดค่าการส่งข้อมูลใน 1 statement เช่น คำสั่ง insert ที่มีรูปมาด้วย หากคำสั่งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าจำนวนที่กำหนดไว้ จะ error แนะนำให้กำหนดไว้ 128M
query_cache_size=128M ### ควรเซ็ทไว้ที่  10%
#interaction_timeout=300
#wait_timeout=180 ### เช่นกรณีที่รายงานนั้นใช้เวลาในการดึงรายงานออกมานานเกินเวลาที่กำหนดไว้จะทำงานตัด connection นั้นทิ้งไป
innodb_data_file_path=ibdata1:100M:autoextend ###กำหนดขนาดเริ่มต้นของ logfile
innodb_flush_log_at_trx_commit=1 ###ตัวกำหนดพฤติกรรมในการ commit ข้อมูล ถ้ามีค่าเป็น 1 คือมีการบันทึกข้อมูลลง HD ทันที ถ้าเป็น 0 จะบันทึกข้อมูลทุก 1 วินาที ถ้าไฟดับ ข้อมูลจะหายไป 1 วินาที
innodb_buffer_pool_size=64M ###อันนี้สำคัญ เป็นหน่วยความจำที่แชร์ ยิ่งเยอะยิ่งดีแต่ไม่ควรเกิน 40-60% ของหน่วยความจำที่มี
innodb_additional_mem_pool_size=8M
innodb_log_file_size=16M ### ถ้า mysql start แล้วตรงนี้ห้ามแก้ ถ้าจะแก้ต้องแก้ก่อนเริ่มใช้งาน เพราะถ้า ลบไฟล์ทิ้งข้อมูลแบบ innodbจะไม่สมบูรณ์
innodb_log_buffer_size=4M ###ระบบ Set ให้เอง
innodb_lock_wait_timeout=50
max_connections=1000 ###อันนี้สำคัญ จำนวนเครื่องที่จะ connect เข้ามาที่ mysql ได้
innodb_file_per_table ###อันนี้สำคัญ เนื่องจาก innodb เก็บทุกตารางไว้ในไฟล์เดียวกันหมด ถ้ามีคำสั่งบรรทัดนี้ จะเป็นการสั่งให้การเก็บข้อมูลเป็นแบบ 1 ตาราง เป็น 1 file
skip-character-set-client-handshake   ###ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมอื่นมาดึงข้อมูลจาก mysql ได้ เช่น Access
skip-locking
skip-name-resolve ###ถ้าไม่เปิดอันนี้ mysql จะเสียเวลาแปลง ip ให้เป็น ชื่อเครื่อง
big-tables ###เปิดไว้สำหรับ myisam ให้เก็บข้อมูลได้ในระดับ tera

[mysql]
default-character-set=tis620

[mysqldump]
default-character-set=tis620
max_allowed_packet=16M
allow-keywords

ที่มา:http://group.wunjun.com/#!/hospital/topic/420259-13594

วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Forword Port DotA Mikrotik

/ip firewall nat
add action=dst-nat chain=dstnat comment="#FW Dota" disabled=no dst-address=172.0.0.1 dst-address-type=local dst-port=7101 protocol=tcp to-addresses=192.168.0.230 to-ports=7101
add chain=srcnat out-interface=ether3-dmz src-address=192.168.0.0/24 dst-address=192.168.0.0/24 action=src-nat to-addresses=172.0.0.1 to-ports=7101 comment="#autoDota" disabled=no




/system script (ต้องเข้าไป Add เอง)
:local addr [/ip address get [/ip address find interface=pppoe-out1] address]
/ip firewall nat set [/ip firewall nat find comment="#FW Dota"] dst-address=[:pick $addr 0 ([:len $addr]-3)

]
/ip firewall nat set [/ip firewall nat find comment="#autoDota"] to-addresses=[:pick $addr 0 ([:len $addr]-3)

]
/ip firewall mangle set [/ip firewall mangle find comment="#DotA Route"] dst-address=[:pick $addr 0 ([:len $addr]-3)

]


/system scheduler
add comment="" disabled=no interval=1h name=DotA on-event="/system script run dotaScript" policy=\
reboot,read,write,policy,test,password,sniff,sensitive start-date=may/10/2011 start-time=12:00:00


172.0.0.1 IP public ตาม dns


* บันทัดที่ 2  กำหนดให้เครื่อง IpAddress สามารถ คีย์ Dota ได้ โดยผ่าน Port 7101 (ต้องไป set port ใน dota ด้วย)
* บันทัดที่ 3  กำหนดให้ IP Public forword port ไปที่ 7101 โดยให้ AutoDota รัน Ip Public อัตโนมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับ Ip Public ของบันทัดที่ 2
* script ให้มันรัน ip public อัตโนมัติทุกๆ 10 นาที ทั้ง บันทัดที่ 2 และ 3

mikrotik block bittorrent

แบบนี้ใช้อยู่ OK มาก
** Update 27-03-2013 **

** L7 **
โค๊ด:
/ip firewall layer7-protocol
add name=.Bittorrent regexp="^(\\x13bittorrent protocol|azver\\x01\$|get /scra\
    pe\\\?info_hash=get /announce\\\?info_hash=|get /client/bitcomet/|GET /dat\
    a\\\?fid=)|d1:ad2:id20:|\\x08'7P\\)[RP]"

 ** Filter **
** 172.16.0.0/21 < คือวงของเราเองครับ **
** !80,443 ** อันนี้สามารถเพิ่ม port ที่ต้องการให้ผ่านได้ครับ
โค๊ด:
/ip firewall filter
add action=add-src-to-address-list address-list=-Bit-Addr \
    address-list-timeout=1m chain=forward disabled=no dst-address-list=\
    !-Bit-Addr-Unblock hotspot="" p2p=bit-torrent src-address=172.16.0.0/21 \
    src-address-list=!-Bit-Addr-Unblock
add action=add-src-to-address-list address-list=-Bit-Addr \
    address-list-timeout=1m chain=forward disabled=no dst-address-list=\
    !-Bit-Addr-Unblock dst-address-type="" layer7-protocol=.Bittorrent \
    src-address=172.16.0.0/21 src-address-list=!-Bit-Addr-Unblock \
    src-address-type=local
add action=drop chain=forward disabled=no dst-port=!80,443 protocol=tcp \
    src-address-list=-Bit-Addr
add action=drop chain=forward disabled=no protocol=udp src-address-list=\
    -Bit-Addr

** Address List Unblock Bit ** << ip 172.16.0.21 เปลี่ยนเป็นเครื่องที่ต้องการให้ Pass >>
** 172.16.0.xx << ตัวอย่างหากต้องการมากว่า 1 เครื่อง **
** 172.16.0.0/21 << แบบนี้คือทั้ง วงครับ **

/ip firewall address-list
add address=172.16.0.21 disabled=no list=-Bit-Addr-Unblock
add address=172.16.0.22 disabled=no list=-Bit-Addr-Unblock
add address=172.16.0.23 disabled=no list=-Bit-Addr-Unblock
add address=172.16.0.2x disabled=no list=-Bit-Addr-Unblock
** สีแดงคือจุดเพิ่ม IP เครื่องที่ต้องการให้โหลดได้ครับ **

แบบนี้ใคร โหลดบิท ก็ใช้งานได้แค่เวป อย่างเดียวครับ

*** เครดิต คุณ yod sysnetcenter & Kridsada  สำหรับแนวทางครับ***

วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556


การทำ VPN Server PPTP
1.
ไปที่ PPP แทป Profiles

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/v1.jpg

    1.1.
ตั้ง ชื่อ profile VPN2
    1.2. Local Address 192.168.9.1
    1.3. Remote Address 192.168.9.100
    1.4. Use Encryption = Yes

2.
ไปที่ แทป Secret
    2.1.
ตั้ง User Password ที่จะใช้ Login
    2.2.
เลือก Profile ที่สร้างไว้ VPN2

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/v2.jpg

3.
ไปที่ แทป Interface กดเพิ่ม PPTP Server

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/v3.jpg

4.
ตั้งชื่อ Interface และ ใส่ user ที่สร้างไว้

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/v4.jpg

5.
กด ปุ่ม PPTP Server แล้ว ทำเครื่องหมายถูกที่ Enabled

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/v5.jpg

สร้างการเชื่อมต่อแบบ VPN PPTP กับ PPTP Server


Microsoft Windows XP 

เข้าเมนู Start -> Connect To -> Show all connections
 
กดสร้างการเชื่อมต่อที่ Create a new connection

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n1.jpg

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n2.jpg
จากนั้นกดปุ่ม Next

เลือก Connect to the network at my workplace จากนั้น กดปุ่ม Next

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n3.jpg

เลือก Virtual Private Network connection จากนั้นกดปุ่ม Next

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n4.jpg

ใส่ชื่อการเชื่อมต่อที่คุณต้องการ  จากนั้น กดปุ่ม Next

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n5.jpg

PPTP Server Address
ให้ใส่  DDNS ที่ สร้างขึ้นไว้ครับ จากนั้น กดปุ่ม Next

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n6.jpg

ขั้นตอนการสร้างการเชื่อมต่อ เป็นอันเสร็จสิ้น จากนั้นกดปุ่ม Finish

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n7.jpg

จากนั้น กำหนด Username และ Password ที่ได้สร้างไว้ที่ PPTP Server 

คำอธิบาย: http://www.easynetwork.co.th/images/manual/n8.jpg
.

DDns config ไว้เพื่อแทน IP Public ครับ 

ส่วน 
1.2. Local Address 192.168.9.1
1.3. Remote Address 


computer
ที่ทำการ remote เข้ามา จะได้ IP 192.168.9.100

RB
จะเป็น IP 192.168.9.1 ครับ

ที่มา : esynetwork.com

loadbaland 2 wan from mikrotik


interface1, interface2 ต่อกับ MODEM (Bridge) Connect แบบ PPPoE Client Name = pppoe-out1, pppoe-out2

/ ip route
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=pppoe-out1,pppoe-out2 check-gateway=ping

/ ip firewall nat
add chain=srcnat out-interface=pppoe-out1 action=masquerade
add chain=srcnat out-interface=pppoe-out2 action=masquerade

/ ip firewall mangle
add chain=input in-interface=pppoe-out1 action=mark-connection new-connection-mark=pppoe-out1_conn
add chain=input in-interface=pppoe-out2 action=mark-connection new-connection-mark=pppoe-out2_conn
add chain=output connection-mark=pppoe-out1_conn action=mark-routing new-routing-mark=to_wan1    
add chain=output connection-mark=pppoe-out2_conn action=mark-routing new-routing-mark=to_wan2    

/ ip route
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=pppoe-out1 routing-mark=to_wan1
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=pppoe-out2 routing-mark=to_wan2

/ ip route
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=pppoe-out1,pppoe-out1,pppoe-out1,pppoe-out1,pppoe-out1,pppoe-out2 check-gateway=ping

ที่มา mikrotikclub.com

webserver ddns autoupdate mikrotik

หลังจากที่ ตั้งค่า ddns เพื่อเชื่อมต่อกับ mikrotik แล้ว ตามหัวข้อ http://boonkongbb.blogspot.com/2013/03/ddns-noip-mikrotik.html

ต่อไปจะเป็นการตั้งค่าให้ ddns update auto เพื่อให้สามารถเข้า web server ได้ซึ้ง ddns ต้องถูกต้อง มาดูเลยแล้วกัน

1. ไปที่ System --> Scripts แล้วคลิกเครื่องหมาย บวก
เพิ่ม สคริปดังนี้

 :local addr [/ip address get [/ip address find interface=pppoe-out1] address]
/ip firewall nat set [/ip firewall nat find comment="#Forword Port Web Server"] dst-address=[:pick $addr 0 ([:len $addr]-3)

]

2.ไปที่ ip --> firewall --> nat --> คลิกเครื่องหมาย บวก
กำหนดค่าดังรูป
สังเกตุ ตรง comment
ชื่อจะต้องตรงกับ หัวข้อที่ 1


To Address กำหนดหมายเลข ip webserver 
to port : 80


# จบการตั้งค่า webserver ddns autoupdate mikrotik

ddns noip mikrotik


การตั้งค่า ddns no-ip จาก mikrotik
   ผมไม่รู้จะพูดอะไรมาก แค่อยากทำเก็บไว้ เผื่อวันหลังจะได้นำมาใช้งานได้ หลักการทำงานของสคริปคือ มีสคริปที่ใช้เพื่อให้ mikrotik เชื่อมต่อกับ no-ip ได้ เริ่มเลยแล้วกัน

1.เข้าไปที่ System --> Scripts --> คลิก เครืองหมาย + ดังรูป แล้วใส่สคริป ดังนี้












#############################################
############        No-IP Dynamic DNS        ############
#############################################
# Set needed variables
:local ddnsuser "Username ddns"
:local ddnspass "Password ddns"
:local theinterface "pppoe-out1"
:local ddnshost "Host ddns"

:local ipddns [:resolve $ddnshost];
:local ipfresh [ /ip address get [/ip address find interface=$theinterface ] address ]
:if ([ :typeof $ipfresh ] = nil ) do={
   :log info ("No-IPDNS: No ip address on $theinterface .")
} else={
   :for i from=( [:len $ipfresh] - 1) to=0 do={
      :if ( [:pick $ipfresh $i] = "/") do={
    :set ipfresh [:pick $ipfresh 0 $i];
      }
}

:if ($ipddns != $ipfresh) do={
    :log info ("No-IPDNS: IP-DynDNS = $ipddns")
    :log info ("No-IPDNS: IP-Fresh = $ipfresh")
   :log info "No-IPDNS: Update IP needed, Sending UPDATE...!"
   :local str "/nic/update?hostname=$ddnshost&myip=$ipfresh"
   /tool fetch address=dynupdate.no-ip.com src-path=$str mode=http user=$ddnsuser \
         password=$ddnspass dst-path=("/No-IPDNS.".$ddnshost)
    :delay 1
    :local str [/file find name="No-IPDNS.$ddnshost"];
    /file remove $str
    :global ipddns $ipfresh
  :log info "No-IPDNS: IP updated to $ipfresh!"
    } else={
     :log info "No-IPDNS: dont need changes";
    }
}

########End script ddns#############

2. ต่อไป เป็นการตั้งเวลาให้ update ddns อัตโนมัติ เพื่อช่วยในกรณีที่ ddns มีการเปลี่ยนหมายเลขทำให้เข้าใช้ งาน no-ip ไมได้
เข้าไปที่ System --> Scheduler --> คลิกเครื่องหมาย บวก ตั้งชื่อตามต้องการ และกำหนดค่าตามรูป สังเกตุ ชื่อที่ต้องใน หัวข้อที่ 1 ต้องตรงกับ on Event ถึงจะสามารถทำงานได้ แล้วกด OK


#เสร็จ การติดตั้ง DDNS Mikrotik